Peas

วันอังคารที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

สัปดาห์นี้อาจารย์สรุปตารางงานที่จะส่ง คือ   วันที่ 8 พฤศจิกายน 2559  ขอดูไฟล์งาน Artwork
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559  เช็คงาน ความเรียบร้อย เอาบอร์ดมาดู และตรวจBlog     วันที่ 22 พฤศจิกายน 2559  แสดงงาน

วันอังคารที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2559

สำหรับวันนี้อาจารย์สอนเรื่องการออกแบบ และบอกเทคนิคต่างๆ สำหรับโปรเจคนี้ ต้องทำและพรีเซนต์ส่งใน issuu.com แล้วแชร์เผยแพร่ด้วย

วันอังคารที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559


     วันนี้อาจารย์สอนเรื่องการนำภาพมาใช้กับงาน ใน Illastration & Photoshop เราต้องตรวจสอบความละเอียดของภาพดูว่า คมชัดหรือไม่ ถ้าไม่คมชัดเราอาจใช้วิธีการปรับรูปหรือเอฟเฟคต่างๆ เข้ามาช่วย ส่วนตัวอักษรที่ใช้นั้น อาจมีการใส่เอฟเฟคบ้าง

วันอังคารที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2559

วันนี้เป็นที่ส่งงานประกวด Kimpai อาจารย์นัน 9 โมงเช้าเป็นหนึ่งวันที่เร่งรีบและไม่ได้นอนแต่มันก็ผ่านไปได้ด้วยดีค่ะ

วันอังคารที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2559

   วันนี้เป็นที่สอบมิสเทอมในหัวข้อคำสั่ง จงออกแบบตราสัญลักษณ์ จากข้อมูลนี้
     ดนัย ท้วมเอื้อ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 5 ต.แพรกศรีราชา อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท เป็นผู้สืบทอดการทำข้าวเกรียบว่าวโบราณมาจากรุ่นตารุ่นยาย ต้องการพัฒนาเป็นสินค้า OTOP  จ.ชัยนาท ต้องการมีตราสินค้าสำหรับ “ข้าวเกรียบว่าวประยุกต์” เพื่อวางจำหน่ายในตลาดทั่วประเทศ
https://docs.google.com/document/d/1sicW2_2lw8DurMtXiGnUsQrdCh-rYO1pNONUli_CC0o/edit

ผลงานในการสอบครั้งนี้


วันอังคารที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2559

วันอังคารที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2559


           
  สัปดาห์นี้  มีเพื่อนมารายงานสรุปข่าว ถึง 4 คนด้วยกัน ผู้โชคดีในสัปดาห์นี้ได้แก่

ตัวเอง  นางสาว วรรณิศา    เรื่อง  Mercedes-Benz
คนที่ 2 นางสาว วริยา      เรื่อง  Limnos krimi
คนที่ 3 นายเกียรติชัย       เรื่อง  Surf 's  up  burger Shack
คนที่  4  นายกุลพชร           เรื่อง  Gardenia

            ข้อคิดจากอาจารย์ในสัปดาห์นี้  โจทย์ที่อาจารย์ให้ไป อยากให้นักศึกษา ค้าหาตัวเอง อยากให้ฝึกทักษะ    การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ คือการนำประวติศาสตร์มาใช้เป็นทุนทางวัฒนธรรม นำมาประยุกต์ใช้กับงาน

วันอังคารที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2559



          วันนี้มาเรียนสายมาก ไม่ใช่แค่ฉันคนเดียวนะ แต่หลายคนเลย เป็นวันที่ฝนตก รถติดหนักมาก แต่ก็ยังทันในการเช็คชื่อ  เริ่มต้นการเรียนวันนี้ มีผูโชคดี ออกไปรายงานสรุปข่าว เริ่มเลย

คนที่ 1 นางสาวดาราวลัย            เรื่อง     Rubriq
คนที่ 2 นางสาวเบญจวรรณ     เรื่อง     Mebiz
คนที่ 3  นางสาวพรทิชา           เรื่อง     Vavancce

           สำหรับวิชานี้ เป็นการออกแบบอัตลักษณ์ เป็นแค่ส่วนหนึ่งที่จะใช้ในการทำงานบนบรรจุภัณฑ์  วิเคราะห์การออกแบบอัตลักษณ์ นำลวดลาย เอกลักษณ์ มาสร้างให้เกิดเป็นอัตลักษณ์ มีความหมาย  มี


ที่มาในการออกแบบ

วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559



         เริ่มด้วยการฟังข่าวสารจากเพื่อนๆ ข่าวสารเกี่ยวกับการออกแบบอัตลักษณ์ สัปดาห์นี้ เพื่อนๆเตรียมตัวกันมาครบทั้ง 3 คน เลย เรื่องที่เพื่อนๆพูดในวันนี้มีดังนี้ค่ะ

คนที่ 1 กมลวร รายงานเรื่อง   :  Zora
คนที่ 2 ณัฐณาวี รายงานเรื่อง :  SpaceX
คนที่ 3 ดลวรรณ รายงานเรื่อง :  Out of the new

อาจารย์ก็ได้แนะนำเพิ่มเติมให้ วิเคราะห์Logo ตัวอักษรเป็นแบบไหน สีอะไร ภาษาที่แปลมาถูกต้องหรือไม่ ดูค่าสีอย่างไร   สิ่งที่อาจารย์ได้สอนวันนี้เป็นความรู้เล็กๆน้อย ในวันนี้ และฉันได้หาข้อมูลเพิ่มมาคือ
เรื่อง ระบบสี

วันจันทร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2559

Mercedes-Benz logo evolutionMercedes-Benz วิวัฒนาการโลโก้



In 1901, when Mercedes Jellinek was just 11 years old, her demanding father Emil Jellinek insisted that her name be given to an order of 36 cars he intended to buy from Daimler-Motoren-Gesellschaft.
ในปี 1901 เมื่อเมอร์เซ Jellinek อายุเพียงแค่ 11 ปีของเธอเรียกร้องพ่อของเอมิล Jellinek ยืนยันว่าชื่อของเธอได้รับการสั่งซื้อสินค้าจาก 36 คันเขาตั้งใจที่จะซื้อจากเดมเลอร์ Motoren-Gesellschaft





Photo by kenjonbro

Mercedes logo 1902 (above)

Daimler-Motoren-Gesellschaft used the Mercedes name for most of its cars and registered it as a trademark in 1902. The three-pointed star came later, in 1909. Jellinek had his own name legally changed to Emil Jellinek-Mercedes.
เดมเลอร์ Motoren-Gesellschaft ใช้ชื่อเมอร์ส่วนใหญ่ของรถและจดทะเบียนเป็นเครื่องหมายการค้าในปี 1902 ดาวสามแฉกมาต่อมาในปี 1909 Jellinek มีชื่อของตัวเองเปลี่ยนไปตามกฎหมายที่จะเอมิล Jellinek-เมอร์



1909


1916
วันที่ 28 มิถุนายน 1926 เมื่อเบนซ์และ Cie อย่างเป็นทางการรวมกับเดมเลอร์ Motoren Gesellschaft - กลายเป็นเดมเลอร์เอจี-Benz (Aktiengesellschaft) - มันก็ตกลงกันว่าหลังจากนั้นทั้งหมดของแต่ละโรงงานจะใช้ชื่อยี่ห้อ Mercedes-Benz ในรถยนต์ของพวกเขา


Mercedes-Benz logo 1926

The design consists of a simple depiction of a three-pointed star that represents its domination of the land, sea, and air.
การออกแบบประกอบด้วยภาพที่เรียบง่ายของดาวสามแฉกที่แสดงถึงการครอบงำของบกทะเลและอากาศ





Silver is typical of the brand, and dates back to its involvement in the first Grand Prix at the Nürburgring in 1934.
เงินเป็นเรื่องปกติของแบรนด์และวันที่กลับไปมีส่วนร่วมในครั้งแรกที่แกรนด์กรังปรีซ์ที่Nürburgringในปี 1934




Lewis Hamilton driving a Mercedes-Benz W25 at the Nürburgring
When one of the cars exceeded the eligible weight of 750 kilograms in the pre-race checks, officials spent the night polishing off the white paint so the car was back to its raw silver colour. (So the legend goes.) The car was named the “silver arrow.”
เมื่อหนึ่งในจำนวนรถยนต์ที่เกินน้ำหนักที่มีสิทธิ์ 750 กิโลกรัมในการตรวจสอบก่อนการแข่งขันเจ้าหน้าที่ใช้เวลาทั้งคืนขัดออกสีขาวเพื่อให้รถกลับมากับสีเงินดิบ (ดังนั้นตำนานไป.) รถเป็นชื่อ "ลูกศรสีเงิน."





Mercedes-Benz emblem





Mercedes-Benz lockup, and symbol 2009




http://www.logodesignlove.com/mercedes-benz-logo-evolution

วันพฤหัสบดีที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2559

สรุปการไปการสัมมนาด้านการสร้างสรรค์งานออกแบบการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์





โดยได้รับเกียรติจากคุณสมชนะ กังวารจิตต์ Executive Creative Director บริษัท Prompt Design และ คุณมยุรี ภาคลำเจียก ผู้เชี่ยวชาญ และ ที่ปรึกษาสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย โดยกำหนดจัดขึ้นที่ สมาคมธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชาชูปถัมป์จากการได้ไปสัมมนา ของ KIM PAI ได้รู้หลักเกณฑ์ของผลงานที่เข้าประกวดและคุณสมบัติของผู้เข้าประกวดจากนั้นได้ฟังคำบรรยาย จาก อาจารย์มยุรี ภาคลำเจียก พูดถึงเรื่องรูปแบบและโครงสร้างบรรจุภัณฑ์สิ่งที่นักออกแบบต้องคำนึงถึง โดยมีหน้าที่และความสำคัญของบรรจุภัณฑ์มี2ด้าน คือ
1. ด้านเทคนิค = การออกแบบโครงสร้าง
2. ด้านการตลาด = การออกแบบกราฟิก





                             หลักการนการออกแบบโลโก้ ว่าหลักสำคัญ อย่างไร






ได้รู้จักประเภทของโลโก้ แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
1. Symbol/icom
เป็นตัวโลโก้อย่างเดียวโดยไม่มีตัวอักษร
2. Word mark
เป็นการออกแบบโลโก้โดยตัวอักษรเพียงอย่างเดียวในการออกแบบโลโก้ โดยใช้ชื่อของธุรกิจ สินค้า หรือบริการนั้นๆ ในการออกแบบจะเลือกใช้ฟอนท์ที่มีสไตล์เข้ากับลักษณะของธุระกิจ จักเรียงช่องไฟอย่างสวยงาม บางครั้งออกแบบในมีลูกเล่นในตัวอักษรบางตัวเพื่อดึงดูดความสนใจ และเพื่อช่วยให้เป็นที่จดจำง่ายขึ้น
3. .Letter mark
คือการใช้อักษรย่อ ของชื่อธุรกิจมาออกแบบโลโก้ เช่น MCdonal ใช้ตัว M มาออกแบบโลโก้
4. Emblem
เป็นการออกแบบโลโก้โดยใช้ภาพสัญลักษณ์ง่ายๆ ที่ต้องการ มาเป็นองค์ประกอบ รวมเข้ากับชื่อและล้อมกรอบเอาไว้ในลักษณะต่างๆ ส่วนใหญ่ภาพหรือรูปทรงที่นำมาใช้ในการออกแบบโลโก้ มักจะสื่อความหมายถึงหรือเกี่ยวข้องกับธุรกิจนั้นๆ
5. Combination
เป็นลูกผสมระหว่างโลโก้และตัวอักษร

 ในการไปสัมมนาครั้งนี้แนวคิดในการออกแบบบมาขึ้นเปปิดมุมมองใหม่ๆ  “คิดให้มากมองให้ลึก”

ภาพบรรยากาศในงานสัมมนา



วันอาทิตย์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2559

โลโก้สวยๆทำเองภายใน 3 นาที


ความหมายของการออกแบบอัตลักษณ์

ความหมายของการออกแบบอัตลักษณ์ Brand เครื่องหมายและสัญลักษณ์"หมายถึงอะไร"
ออกแบบอัตลักษณ์
     Corporate Identity Design (หรือ CI Design) คือ การออกแบบอัตลักษณ์ขององค์กรหรือแบรนด์สินค้า ที่ไม่ได้หมายถึงการสร้างแบรนด์หนึ่งๆ โดยตรง แต่เป็นหน้าต่างสำคัญที่จะกำหนดหน้าตาและทิศทางของแบรนด์นั้นๆ ได้ การออกแบบอัตลักษณ์นี้จึงไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะมันไม่ใช่แค่การออกแบบ โลโก้ แล้วนำไปประยุกต์ใช้กับเครื่องมือสื่อสารทั้งหมดของแบรนด์ CI Design คือ การออกแบบ ภาพลักษณ์ทั้งหมดของแบรนด์” ที่จะทำให้คนภายนอกสัมผัสได้เฉกเช่นเดียวกับที่องค์กรต้องการสื่อออกไป เรียกว่า ถ้าพลาดก็อาจทำให้ภาพของแบรนด์บิดเบี้ยวไปเลยก็ได้ คำว่า อัตลักษณ์ ไม่มีบันทึกไว้ในพจนานุกรม แต่มีตำราหลายเล่มให้ความหมายคำว่า อัตลักษณ์ ไว้ว่า คุณลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ของลักษณะเฉพาะของตัวบุคล สังคม ชุมชน หรือประเทศนั้นๆ เช่น เชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรมท้องถิ่น และศาสนา ฯลฯ ซึ่งมีคุณลักษณะที่ไม่ทั่วไปหรือสากลกับสังคม อื่นๆ กล่าวคือ ลักษณะที่ไม่เหมือนกับของคนอื่นๆ อัตลักษณ์ มาจากภาษาบาลีว่า อตฺต + ลักษณ โดยที่ อัตตะ มีความหมายว่า ตัวตน, ของตน ส่วน ลักษณะ หมายถึง สมบัติเฉพาะตัว หากมองเพียงแค่รูปศัพท์ อัตลักษณ์ จึงเหมาะจะนำมาใช้หมายถึงลักษณะเฉพาะตัวของสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากกว่า ส่วนคำว่า เอกลักษณ์ มีคำว่า เอก ซึ่งหมายถึง หนึ่งเดียว จึงน่าจะหมายความว่าลักษณะหนึ่งเดียว (ของหลายๆ สิ่ง) หรือลักษณะที่ของหลายๆ สิ่งมีร่วมกัน ซึ่งเป็นความหมายแรกตามพจนานุกรมอย่างไรก็ดี คนไทยโดยส่วนใหญ่ยังนิยมใช้คำว่า เอกลักษณ์ ในความหมายว่าลักษณะเฉพาะตัวที่ไม่เหมือนใครอย่างกว้างขวาง ส่วนคำว่า อัตลักษณ์ นั้นมักจะใช้ในวงแคบๆ เช่นแวดวงวิชาการเท่านั้น และบางครั้งก็ใช้แบบมีนัยยะแฝง เช่น เอกลักษณ์ เป็นสิ่งตายตัวไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ส่วน อัตลักษณ์ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่กระนั้นก็ยังไม่มีข้อบัญญัติการใช้ที่ชัดเจน